การตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูกวินิจฉัยภาวะกระดูกพรุน

ความแข็งแรงของกระดูกอาจเป็นสิ่งที่หลายคนกังวล ยิ่งในปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี จะมีโอกาสเสี่ยงเกิดโรคกระดูกพรุนได้สูง พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายเป็นภัยเงียบ เนื่องจากจะไม่มีอาการ แต่จะรู้เมื่อกระดูกหักไปแล้ว เพราะเกิดจากมวลกระดูกที่ลดลงและโครงสร้างกระดูกเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ความแข็งแกร่งน้อยลง

มะเร็งรังไข่ร้ายกว่าที่คิดรู้ได้ด้วยการคัดกรอง

มะเร็งรังไข่ยังไม่มีวิธีการตรวจคัดกรองที่ชัดเจน ทำให้ส่วนใหญ่พบการอุบัติของโรคขณะที่มะเร็งรังไข่เข้าสู่ระยะรุนแรง โดยอาการข้างเคียงที่จะพบได้บ่อยๆ มักมีอาการท้องอืดเสียดแน่นท้อง อาหารไม่ย่อยท้องโตขึ้น แต่อาการเหล่านี้ก็ใกล้เคียงกับโรคกระเพาะ ทำให้ผู้ป่วยบางส่วนไปตรวจด้วยเรื่องสงสัยโรคกระเพาะอาหารอักเสบอยู่เป็นจำนวนมาก

การตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยเอ็มอาร์ไอ

การสังเกตอาการผิดปกติและตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก ช่วยเพิ่มโอกาสให้แพทย์ตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มต้นได้เร็วขึ้นและสามารถรักษามะเร็งให้หายขาดได้ การสังเกตอาการผิดปกติและตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก ช่วยเพิ่มโอกาสให้แพทย์ตรวจพบมะเร็งระยะเริ่มต้นได้เร็วขึ้นและสามารถรักษามะเร็งให้หายขาดได้ มะเร็งต่อมลูกหมากเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นในต่อมลูกหมาก

การสแกนด้วยรังสีเพื่อตรวจหาความผิดปกติทางสมอง

โรคความจำเสื่อมเป็นปัญหาสุขภาพที่คุกคามคนไทยมานานแล้ว ซึ่งระยะหลังมานี้เราเริ่มพบโรคนี้ในผู้ป่วยที่มีอายุน้อยลง เพราะคนส่วนใหญ่มักไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นโรคนี้ และกลัวการรักษาจนปล่อยให้โรคลุกลามเกินกว่าจะรักษาได้ โรคอัลไซเมอร์มีระยะเวลาก่อโรคนาน 15-20 ปีกว่าจะมีอาการสมองเสื่อมชัดเจน การแสดงอาการของโรคจะเป็นไปอย่างช้าๆ

ตรวจภายในลดความเสี่ยงก่อนเกิดโรคร้ายในผู้หญิง

เมื่อผู้หญิงเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ควรเข้ารับการตรวจภายในทุกคน แม้จะรู้สึกเขินอาย โดยเฉพาะสาวโสดที่ยังไม่เคยแต่งงาน หรือมีเพศสัมพันธ์มาก่อน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องของสุขภาพภายในสตรีนับว่าเป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากมีความซับซ้อน เชื่อมโยงระบบสืบพันธุ์ของสตรีหลายส่วน ทั้งปากช่องคลอด ช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก ปีกมดลูก และรังไข่

การตรวจภาวะตับแข็งด้วยเครื่องไฟโบรสแกน

เมื่อมีอาการของมะเร็งตับเกิดขึ้น เช่น ปวดท้อง ท้องอืด แน่นอึดอัดท้อง ไม่อยากรับประทานอาหาร มักจะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นโรคกระเพาะ อาหารไม่ย่อยบ้าง หรือโรคถุงน้ำดีอักเสบบ้าง จนไม่ทันได้ระวังและปล่อยให้โรคดำเนินต่อไปเมื่อโรคพัฒนาจนถึงระยะกลางและระยะสุดท้าย จึงจะสามารถเห็นอาการได้ชัดเจน และในเวลานั้นมักจะสูญเสียโอกาสในการรักษา

การดูแลปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ

ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุคือภาวะที่ช่องปากของผู้สูงอายุมีโรคเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นบริเวณปาก ภายในช่องปาก ฟันหรือลิ้น เป็นต้น อาจมีได้ตั้งแต่โรคในช่องปากที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวัย หรือโรคในช่องปากที่มีผลมาจากโรคทางระบบอื่นๆ หรือยาที่รับประทานสำหรับรักษาโรคนั้นๆ ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุนั้นมีสาเหตุที่แตกต่างกันออกไป

การตรวจคัดกรองปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไทรอยด์

ภาวะไทรอยด์เป็นพิษหรือผิดปกติ มักจะพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายประมาณ 9-10 เท่า โดยเฉพาะในช่วงอายุ 20-40 ปี ปัจจุบันสามารถตรวจคัดกรองได้โดยมีหลากหลายวิธีขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรควิธีที่ง่ายที่สุดคือการตรวจเลือดเพื่อเช็คการทำงานของต่อมไทรอยด์และการเผาผลาญ ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งที่อยู่บริเวณส่วนหน้าของลำคอ

การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นการตรวจที่ไม่เจ็บปวด

การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG ต่างจากการตรวจ X-ray หรือการตรวจ CT scan และการตรวจ MRI คือเครื่องมือดังกล่าวเป็นการตรวจทางกายภาพ แต่การตรวจ EEG เป็นการบันทึกประจุไฟฟ้าจากส่วนต่างๆ ของสมองผ่านออกมาถึงกะโหลกศีรษะมายังเครื่องมือตรวจ EEG ในลักษณะรูปคลื่น, ความถี่, และความสูงต่ำของคลื่นการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG เป็นการตรวจที่ไม่เจ็บปวด

การวินิจฉัยอาการหูตึงในผู้สูงวัย

ปัญหาหนึ่งของสูงอายุคือการสูญเสียการได้ยิน ซึ่งเกิดจากประสาทหูชั้นในค่อยๆ เสื่อมไปตามอายุที่เพิ่มขึ้น แม้อาการหูตึงในผู้สูงวัยจะไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมากเท่ากับโรคร้ายแรงอื่นๆ แต่ก็กระทบกับการใช้ชีวิตประจำวันอย่างมากและอาจเกิดปัญหาการสื่อสารระหว่างผู้ดูแลและผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุเข้าใจผิดเรื่องการรับประทานยาหรือการดูแลตัวเอง

Scroll to Top